บทที่ 3

การควบคุมทิศทางการทำงาน

จากหัวข้อของบทที่พบผ่านมากล่าวถึงนิพตน์และการนำไปใช้งาน แต่เนื่องจากบางครั้งเราต้องการทางเลือกเพื่อให้โปรเเกรมทำงานตามที่เราต้องการ ภาษาจาวาได้เตรียมวิธีการที่เรียกว่าคำสั่งควบคุมทิศทางของการทำงานของผลลัพธ์หรือนิพจน์ต่างๆ เราสามารถที่ใช้คำสั่ง if เพื่ิอให้ทำงานหากเป็นจริงตามเงื่อนไข< Conditon> ถ้ามีเงื่อนไขที่ตรวจสอบพบว่าไม่จริงก็จะทำตามเงื่อนไขหลัง else ดังโฟลว์ชาร์ตให้เป็นสังเขป  ในการใช้งานโปรแกรมนั้นบางครั้งอาจมีเงื่อนไขหลายๆเงิ่อนไขตามต้องการ การใช้งาน if-else  ก้สามารถทำงานได้ภายใต้เงื่อนไขที่มีลักษณะนี้เราจะเรียก nestd-if เงื่อนไขจำนวนมากอาจทำให้การตวบคุมด้วยคำสั่ง nestd-if  นั้นสับสนได้จึงมีผู้คิดรูปแบบในการจัดการเงื่อนไขที่ง่ายขี้นด้วย switch-cse 
คำสั่งวนลูป (Looping) 

หากต้องการให้โปรเเกรมทำงาานซ้ำๆ จนกว่าจะออกจากเงื่อนไข คำสั่งวนลูปที่นิยมทั่วไปคือ คำสั่ง while ซึ่งหลักการคือ จำทำให้การวนลูปหากเงื่อนไขจริงเเละเมื่อเงื่อนไขเท็จจะออกจากการวนลูปทันที  คำสั่ง Do-while เป็นคำสั่งที่ยอทฃมให้การทำงานก่อนที่ที่จะมีการตรวจสอบเงื่อนไข ซึ่งพบว่าการทำงานจะทำงานในส่วนของ statement อย่าง 1 ครั้งเสมอ ซึ่งต่างจาก while loop ซึ่งมีการทำงานสอบก่อนเสมอ ซึ่งอาจไม่ได้เข้ามาทำใน ststement หากพบว่าเท็จตั้งเเตกครั้งแรก
คำสั่ง for loop เป็นคำสั่งที่นิยมนำไปใช้งานมากอีกคำสั่งหนึ่ง รูปแบบคำสั่งที่ปรากฏจะดูกระชับ ซึ่งในคำสั่งนั้นประกอบไปด้วย นิพจน์เริ่มต้น ; เงื่อนไข ; นิพจน์ทางเลือก ซึ่งจะทำให้เราทำงานได้กระชับโดยจะสามารถทำงาน statement ตามเงื่อนไขเเละนิพจน์ทางเลือก

คำสั่งข้ามการทำงาน (Jnmp Statement) 

คำสั่ง switch-case เราสามารถพบคำสั่ง break ; ได้ เสมือนว่าหากทำเงื่อนไขใดเสร็จออกจากคำสั่งนั้นเพื่อไปทำชุดคำสั่งอื่นๆโดยไม่ต้องรอ แต่ถ้าสามารถนำคำสั่งนี้มาใช้เพื่อออกจากตัวโครงสร้างโปแกรมที่ระบุเครื่องหมายได้ด้วยเหตุผลตามที่ต้องการ โดยการใช้คำสั้งตามรูแปบบ
ในส่วน [<label>] คือป้ายที่เราวางไว้ว่าจะให้มาทำคำสั่งในบรรทัดใด 
คำสั่ง switch-case เราก็สามารถนำคำสั่งนี้มาใช้เพื่อทำงานถัดไปตามป้ายกำกับไว้ หรือหากไม่มีป้ายกำกับใดก็จพทำงานบรรทัดถัดไปทันทีโดยการใช้คำสั่งตามรูปแบบ
ในบางกรณีอาจไม่มีการคืนค่ากลับก็ไม่ต้องใช้คำสั่งนี้ นอกจากนี้ เรายังสาารถใช้คำสั่งนี้ในขั้นตอนใดๆ หากจำเป็นที่ะต้องส่งค่ากลับได้ จากผลลัพธ์สังเกตว่า เมื่อทำการสุ่มตัวเลข 3 ตัว ตั้งเเตา 0 - 2 หากได้ 0 จะได้ผลลัพธ์ Normal State  เมื่อพบคำสั่ง break ; จาวาจะออกจากโครงสร้าง switch แล้วไปทำบรรทัดหลังโครงสร้าง switch - case แต่จะไปทำนอกโครงสร้างของ switch - case เลย ส่วนการสุ่มได้เลข 2 ไม่ทีคำสั่ง break ; จะพบว่า จาวาพิจารณาบรรทัดต่อไปโดยยังไม่ออกจากโครงสร้าง switch - case แต่จะทำต่อจนครบ
การใช้คำสั่ง continue ; โปรแกรมจะสามารถทำงานในรอบต่อไปได้ หลังจากได้ทำเงื่อนไขที่ระบุ แล้วก็ยังคงทำงานได้โดยไม่ต้องออกจากตัวโครงสร้างของคำสั่ง

อาร์เรย์ (Array) 

อาร์เรย์ คือตัวแปรที่มีโครงสร้างของข้อมูล ที่แทนกลุ่มของข้อมูลโดยใช้ชื่อตัวแปรเดียว เนื่องจากว่าการเขียนโปรแกรม หากมีการตั้งชื่ิอตัวแปรหลายตัวอาจทำให้การทำงานของโปรแกรมไม่มีความยืดยุ่นพอและอาจทำให้สัสนได้ จึงสร้างตัวแปรเพียงชื่อเดียวแต่อ้างอิงโดยการใช้ดัชนีกำกับไว้ จะพบว่าในความเป็นจริงก็คือ ตัวแปรแต่ละตีวมีโครงสร้างแบบเดียวกันและรับผิดชอบในการเก็บข้อมูลของแต่ละตัวนั่นเอง ภาษาจาวาได้เตรียมคลาสของอาร์เรย์ไว้แล้วที่ Java.util.Arrys รูปแบบการประกาศอาร์เรย์ คือ
การกำหนดและประกาศตัวแปรแบบอาร์เรย์  การกำหนดและประกาศตัวเเปรแบบอาร์เรย์ ในภาษาจาวามสามารถประกาศได้ในรูปแบบที่ค่อนข้างยืดยุ่นแต่ที่สำคัญเราจะต้องประกาศตรงตามรูปแบบที่ภาษาจาวารองรับ
การกำหนดตัวแทนของตัวแปรอาร์เรย์ ตัวแปรx เป็นตัวแปรอาร์เรย์ที่มีชนิดข้อมูลเป็นจำนวนเต็มและเมื่อต้องการเอาไปใช้ก็สามารถกำหนดค่าในภายหลัง โดยการกำหนดตัวแทน หรือ Instance ของอาร์เรย์พร้อมขอบเขตของอาร์เรย
การเริ่มต้นของตัวแปรอาร์เรย์  ตัวแปรy จะเป็นตัวแปรที่มีขนาดเท่ากับ 3 ซึ่งค่าเริ่มต้นที่ 0 และเมื่อเอาไปใช้ก็สามารถอ้างอิงดัชนี y[0],y[1],y[2] ได้เลย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น